ออกเสียงตามรูปสระต่างกัน เป็นต้น ศึกษาเพิ่มเติมข้อกำหนดพิเศษได้ที่การเขียนพินอิน
การอ่านพินอินในภาษาจีน
สัญลักษณ์สะกดเสียงทั้ง 2 เเบบเทียบเสียงเป็นอักษรไทย
ในภาษาจีนมีเสียงวรรณยุกต์ 4 รูป 4 เสียง โดยใช้สัญลักษณ์บ่งบอกดังนี้
อินผิง ( เสียงสามัญ ) หยางผิง ( เสียงจัตวา ) สั่งเซิง ( เสียงเอก ) ชวี่เซิง ( เสียงโท ) การวางวรรณยุกต์ให้วางไว้เหนือสระ กรณีที่ในหนึ่งคำมีสระหลายตัว ให้ทำดังนี้
1. เลือกวางที่ a ก่อน
2. ถ้าไม่มี a ให้มองหา e และ o 3. ถ้ามี iu หรือ ui ให้วางวรรณยุกต์ไว้ที่ตัวหลังสุด
เสียงพยัญชนะเมื่อรวมกับสระเสียงผสม แล้วเปลี่ยนไป ได้เเก่
uei - เอวย เมื่อมีพยัญชนะนำหน้าจะออกเสียงเป็น อุย เเละเปลี่ยนการเขียนพินอินเป็น _ui
uen - เอวิน เมื่อมีพยัญชนะนำหน้าจะออกเสียงเป็น อุน เเละเปลี่ยนการเขียนพินอินเป็น _un
การอ่านพินอินยังมีข้อกำหนดพิเศษที่ต้องศึกษา ยกตัวอย่างเช่น บางคำมีพยัญชนะต้นต่างกันเเต่สระเหมือนกัน
VIDEO
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น